ผู้สูงอายุ กับระบบทางเดินอาหาร


           ในวัยสูงอายุ นอกจากจะมีความเสี่ยงในการเกิดโรคจากความเสื่อมของอวัยวะต่างๆ ของร่างกายแล้ว ในระบบทางเดินอาหารของผู้สูงอายุ ยังพบว่ามีความผิดปกติในการเคลื่อนไหว และการทำงานของทางเดินอาหารมากขึ้นตามวัยด้วย เช่น

การกลืน
พบว่า 16-22% ของผู้ที่มีอายุมากกว่า 50 ปี จะมีปัญหาในการกลืนลำบาก กลืนแล้วเจ็บ สำลัก

ปวดท้อง
อึดอัดจุกแน่น เสียดไม่สบายท้อง ซึ่งอาจจะเกิดร่วมกับอาการอื่นๆ เช่น ท้องอืด มีลมมาก อิ่มง่ายกว่าปกติ แสบร้อนท้อง ซึ่งเกิดจากการเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหาร ลำไส้ที่ผิดปกติ หากมีอาการปวดจนต้องตื่นขึ้นมากลางดึก น้ำหนักลด ไข้ ซีด ตัวเหลือง ตาเหลือง ถ่ายเป็นเลือด ถ่ายดำ อาเจียนเป็นเลือด อาเจียนไม่หยุด คลำพบก้อนในท้อง ท้องอืดโตมาก ขับถ่ายผิดปกติ เหล่านี้เป็นสัญญาณอันตรายควรมาพบแพทย์

การขับถ่ายผิดปกติ ท้องผูกและการถ่ายลำบาก
อาจเนื่องจากการรับประทานอาหารและน้ำน้อยลง ลำไส้เคลื่อนไหวน้อย จากการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลง ประกอบกับโรคเรื้อรังและโรคประจำตัวต่างๆ ตลอดจนการใช้ยาบางชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งยาแก้ปวด

ภาวะถ่ายเหลว ถ่ายบ่อยกว่าปกติ
ภาวะท้องเสีย หรือการกลั้นอุจจาระไม่ได้ ในรายที่เป็นเรื้อรัง อาจเป็นจากการติดเชื้อเรื้อรัง เนื้องอก มะเร็งลำไส้ ส่วนการกลั้นอุจจาระไม่ได้ มีสาเหตุจากความผิดปกติจากเส้นประสาท กล้ามเนื้อ อัมพฤกษ์ อัมพาต เบาหวาน

เบื่ออาหารและน้ำหนักลด
อาจเกิดจากภาวะซึมเศร้า ปัญหาในช่องปาก การรับรสและกลิ่นที่เสื่อมลง การใช้ยาบางชนิด ภาวะติดเชื้อมะเร็งก็ทำให้เกิดอาการเบื่ออาหารและน้ำหนักลดได้

           ดังนั้น ผู้สูงอายุที่มีอาการเบื่ออาหารและมีน้ำหนักลด (มากกว่า 5% ใน 1 เดือน หรือ 10% ใน 3 เดือน) ควรพบแพทย์เพื่อทำการตรวจค้นหาสาเหตุและแก้ไขได้ทันท่วงที

คำแนะนำสำหรับผู้สูงอายุ
1. รับประทานอาหารที่สุก สะอาด หลีกเลี่ยงอาหารค้างคืน รสจัด ของหมักดอง
2. ไม่ควรนอนหรือออกกำลังกายหลังรับประทานอาหารใหม่ๆ
3. ไม่ทานอาหารครั้งละมากๆ จนอิ่มเกินไป ควรทานช้าๆ เคี้ยวให้ละเอียด ทานอาหารให้ตรงเวลา
4. งดบุหรี่ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
5. หลีกเลี่ยงการใช้ยาพร่ำเพรื่อ โดยเฉพาะยาแก้ปวด ยาคลายเส้น รวมถึงยาสมุนไพร ยาลูกกลอน ยาหม้อ
6. ถ้าท้องอืด มีลมในท้องมาก ควรงดน้ำอัดลม โซดา อาหารไขมัน เช่น กะทิ ของทอด เครื่องในสัตว์ เนื้อสัตว์ติดมัน หนังสัตว์ ถั่วและผักกะหล่ำ อาหารหมักดอง ทำให้เพิ่มลมในลำไส้ได้
7. ดื่มน้ำวันละ 6-8 แก้ว (ยกเว้นผู้ป่วยโรคไต หัวใจ ควรปรึกษาแพทย์)
8. ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ จะช่วยให้ระบบย่อยอาหาร และขับถ่ายทำงานได้ดีขึ้น
9. พักผ่อนให้เพียงพอ ทำใจให้ปลอดโปร่งแจ่มใส

ankara escort çankaya escort çankaya escort escort ankara çankaya escort escort bayan çankaya istanbul rus escort eryaman escort escort bayan ankara ankara escort kızılay escort istanbul escort ankara escort ankara grup escort ankara olgun escort çankaya escort çayyolu escort cebeci escort dikmen escort eryaman escort etlik escort gaziosmanpaşa escort keçiören escort kızılay escort sincan escort turan güneş escort ankara escort ankara rus escort ankara escort çankaya escort çayyolu escort dikmen escort eryaman escort gaziosmanpaşa escort incek escort ankara olgun escort kızılay escort keçiören escort cebeci escort ankara rus escort escort çankaya ankara escort bayan istanbul rus Escort atasehir Escort beylikduzu Escort Ankara Escort Ankara genç Escort Ankara masöz Ankara rus Escort Ankara ucuz Escort Ankara vip Escort çankaya Escort keçiören Escort kızılay Escort sınırsız Escort sıhhiye Escort eryaman Escort dikmen Escort malatya Escort kuşadası Escort gaziantep Escort izmir Escort antalya Escort Gaziantep Escort Shell Download