คลินิกหู คอ จมูก (Ears & Throat & Nose Clinic : ENT)

  • มีทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เช่น การผ่าตัดไซนัส การผ่าตัดหู การผ่าตัดเนื้องอกบริเวณลำคอ การผ่าตัดไทรอยด์ พร้อมให้การดูแลอย่างมีประสิทธิภาพ
  • การทำงานประสานกันเป็นทีม เพื่อวางแผนการรักษา และติดตามความคืบหน้าของผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
  • มีการประชุม ทบทวนการให้การรักษาผู้ป่วย เพื่อพัฒนาคุณภาพ การให้การรักษาอยู่เสมอ
  • ทีมแพทย์ที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน พร้อมให้คำแนะนำ และปรึกษาปัญหาอาทิเช่น

  • หูอักเสบ โรคหูน้ำหนวก
  • โรคของหู หูอื้อ
  • มีเสียงผิดปกติในหู
  • การได้ยินเสื่อม
  • สิ่งแปลกปลอมในหู
  • ตรวจการทำงานของหูชั้นกลาง
  • การใส่เครื่องช่วยฟังเสียง
  • เจ็บคอเรื้อรัง
  • แผลในคอเรื้อรัง
  • เสียงแหบ
  • เนื้องอกบริเวณลำคอ
  • ต่อมน้ำเหลืองโตบริเวณลำคอ
  • โรคของต่อมน้ำลาย
  • โรคของต่อมไทรอยด์

  • ภูมิแพ้ ไซนัส
  • การผ่าตัดไซนัส

  • ศูนย์การได้ยิน การพูด การทรงตัวและเสียงในหู

    การได้ยิน ปัญหาใหญ่ที่ไม่ควรมองข้าม

            ทารกแรกเกิดจำนวน 3 ใน 1000 ราย มีความพิการทางการได้ยินหรืออาการหูตึงมาแต่กำเนิด ซึ่งจะส่งผลต่อพัฒนาการโดยรวม และโดยเฉพาะการพูด ที่ส่งผลให้เด็กมีโอกาสเป็นใบ้สูงขึ้น ถ้าไม่ได้รับการตรวจวินิจฉัย และฟื้นฟูบำบัดทันเวลา
            ปัจจุบันด้วยความเจริญทางเทคโนโลยีก้าวหน้า สามารถตรวจคัดกรองได้ตั้งแต่ทารกแรกเกิด และหากสงสัยว่าหูหนวกหรือหูตึง ควรตรวจยืนยันภายในเวลา 6 เดือนแรก จะทำให้การรักษาและฟื้นฟูบำบัดโดยใช้เครื่องช่วยการได้ยิน และสอนพูดได้ทันเวลา เพื่อไม่ให้อาการหูตึง หูหนวก เป็นเหตุให้ไม่สามารถพูดได้ หรือเป็นใบ้ในที่สุด หากพบแพทย์ช้า การฟื้นฟูจะเป็นไปได้ยาก เพราะพัฒนาการทางสมองส่วนการได้ยินจะสูญเสียไปภายใน 2 ขวบ ดังนั้น การฟื้นฟูอาการหูตึงในเด็กแรกเกิด ควรทำตั้งแต่ก่อนอายุ 1 ขวบ เนื่องจากจะสามารถเสริมทักษะต่าง ๆ ได้ง่าย แต่ถ้าหากอายุเกิน 6 ขวบ การฟื้นฟูจะยากหรืออาจไม่เกิดผล เพราะสมองที่พัฒนาการพูดหยุดชะงัก อย่างไรก็ตามหากเด็กไม่ได้ผ่านการตรวจวินิจฉัยตั้งแต่แรกเกิด ผู้ปกครองสามารถสังเกตอาการเริ่มต้นได้ อาทิ เด็กไม่มีปฏิกิริยาตอบสนองต่อเสียงหรือพูดด้วย ไม่หัน ไม่รับรู้ ไม่เลียนเสียงพ่อแม่ ออกเสียงไม่ชัดเจน
            ปัจจุบันมีการตรวจคัดกรองการได้ยินตั้งแต่แรกคลอด โดยวัดการรับรู้ตอบสนองของปลายประสาทรับเสียงในหูชั้นใน (Otoacoustic Emmission) ถ้าไม่ผ่านด้วยเหตุใดก็ตามจะต้องมีการตรวจซ้ำ และยืนยันโดยวัดการได้ยินระดับก้านสมอง (Duditory Brainstem Response) การตรวจดังกล่าวเด็กจะไม่มีการเจ็บปวดใด ๆ เป็นการฟังเสียงตามปกติ และหากตรวจพบความผิดปกติ จะทำการตรวจหาระดับการได้ยินที่ถูกต้อง ณ ความถี่ต่าง ๆ (Auditory Steady State Response) เพื่อจัดเครื่องช่วยฟังให้เหมาะสมแต่ละข้างและเป็นราย ๆ ไป เพราะเด็กที่หูพิการนั้นมีระดับการสูญเสียตั้งแต่น้อยไปถึงรุนแรง

            ผู้สูงอายุ กับ อาการหูอื้อ หูตึง เวียนศีรษะ ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มักถูกเรียกว่าผู้สูงอายุ และถูกจัดเข้ากลุ่ม “วัยเสื่อม” เมื่อเกิดอาการหูอื้อ หูตึง เวียนศีรษะ ก็มักจะถูกละเลย คิดว่าเสื่อมจากวัย ไม่อาจแก้ไขให้คืนดีได้ คิดว่าเป็นเรื่องธรรมที่จะต้องยอมรับ โดยมิได้มีความเข้าใจเรื่องการเสียการได้ยิน และโดยเฉพาะการเสียทรงตัวในผู้สูงอายุ ว่าเป็นเรื่องซับซ้อนที่อาจมีหลายเหตุปัจจัยที่เป็นอันตรายและอาจป้องกันได้ อาจแก้ไขให้ฟื้นคืนดีได้ อย่างไรก็ตาม การแพทย์ได้เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว ปัจจุบันได้มีการให้ความสนใจผู้สูงอายุมากขึ้น ทำให้โรงพยาบาลส่วนใหญ่มีบริการตรวจวินิจฉัยให้การรักษาผู้สูงอายุมากขึ้น
            การแพทย์ในสาขาผู้สูงอายุเป็นเรื่องซับซ้อนและละเอียดอ่อน เนื่องจากโรคของผู้สูงอายุ ยากจะจำกัดอยู่ ณ อวัยวะเดียวของร่างกาย แต่มักพบความผิดปกติของหลายอวัยวะร่วมกัน ร่วมกับการมีโรคทางกายอื่น ๆ เรื้อรังหรือทับซ้อน รวมทั้งการเสื่อมโดยธรรมชาติ ทำให้การให้การวินิจฉัยและการดูแลรักษายากยิ่งขึ้น ดังนั้นผู้เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ จำเป็นต้องเข้าใจปัจจัยร่วมต่าง ๆ และสามารถนำมาประยุกต์ใช้เพื่อการดูแลรักษาผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพ
            การเสียสมรรถภาพการทรงตัว หรือเกิดอาการเวียนศีรษะ รวมทั้งการเสื่อมการได้ยิน เป็นเรื่องที่พบบ่อยในผู้สูงอายุโดยเฉพาะ และมักได้รับการละเลยว่าเนื่องจากอายุมากแล้ว ทั้ง ๆ ที่ความผิดปกติหลายอย่างอาจป้องกันได้ และแม้เกิดขึ้นแล้วก็อาจรักษาให้หายได้ หรือแก้ไขให้ทุเลา รวมทั้งการฟื้นฟูบำบัดให้กลับฟื้นคืนดีได้ ยิ่งกว่านั้น อาการเวียนศีรษะในผู้สูอายุอาจมีสาเหตุจากโรคแฝงทางร่างกายหรือโรคทางสมอง ซึ่งอาจร้ายแรงเป็นอันตรายต่อชีวิต เช่น ภาวการณ์ขาดเลือดของสมองและหูชั้นใน การผิดปกติของกระดูกคอไปทับเส้นเลือดในสมอง

    การบริการตรวจวินิจฉัย

  • การตรวจวินิจฉัย และรักษาความผิดปกติ เกี่ยวกับการได้ยิน การทรงตัว และอาการเวียนศีรษะบ้านหมุน อาทิ
  •     - โรคหินปูนในหูชั้นในเคลื่อน หรือโรคเวียนศีรษะขณะเปลี่ยนท่า (benign paroxysmal positional vertigo : BPPV) เป็นสาเหตุให้เกิดอาการเวียนศีรษะบ้านหมุน โดยเฉพาะในขณะเปลี่ยนท่าของศีรษะ เช่น ขณะล้มตัวลงนอนหรือลุกจากที่นอน ขณะพลิกตัวในที่นอน ก้มดูของหรือเงยหน้าขึ้นข้างบน
        - โรคน้ำในหูชั้นในผิดปกติหรือโรคน้ำในหูไม่เท่ากัน (Meniere’s disease) ทำให้เกิดอาการเวียนศีรษะบ้านหมุน ร่วมกับอาการหูอื้อ การได้ยินลดลง และมีเสียงรบกวนในหูได้
        - โรคเส้นประสาทการทรงตัวในหูอักเสบ (vestibular neuronitis)
        - โรคเนื้องอกของประสาทการทรงตัวหรือเส้นประสาทการได้ยิน (acoustic neuroma)
        - หูอื้อ (sudden hearing loss)
        - การสูญเสียการได้ยินจากสาเหตุต่าง ๆ เช่น เชื้อไวรัส เชื้อซิฟิลิส ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
        - การเสียสมดุลการทรงตัว เช่น โคลงเคลง ทรงตัวได้ไม่ดี เดินแล้วเซ เดินแล้วจะล้ม
  • การตรวจวินิจฉัยและรักษาความผิดปกติเกี่ยวกับการได้ยินในทารกและเด็กเล็ก เช่น สูญเสียการได้ยินแต่กำเนิด การได้ยินผิดปกติ เป็นต้น
  • การทดสอบการได้ยินโดยใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ทันสมัย
  •     - การทดสอบการได้ยินแบบมาตรฐาน
               1. การตรวจสมรรถภาพการได้ยิน (audiometry)
               2. การตรวจแรงดันและการทำงานของหูชั้นกลาง (tympanometry)
  • การทดสอบการได้ยินโดยใช้เครื่องมือพิเศษ
  •     - การตรวจการทำงานของเซลล์ขนในหูชั้นใน (otoacoustic emission : OAE)
  • การตรวจคัดกรองการได้ยิน (hearing screening check)
  •     - การตรวจในผู้ใหญ่
        - การตรวจในทารกแรกเกิดและทารกที่ได้รับการดูแลอยู่ในแผนกบำบัดพิเศษทารกแรกเกิด (Neonatal Intensive Care Unit : NICU)
  • การฟื้นฟูสมรรถภาพการได้ยิน ในผู้ป่วยที่มีปัญหาการได้ยินที่ไม่สามารถรักษาให้หายได้ หรือยังมีความบกพร่องของการได้ยินอยู่ ต้องการการฟื้นฟูสมรรถภาพการได้ยิน ซึ่งต้องอาศัยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์พิเศษต่าง ๆ อาทิ เครื่องช่วยฟัง (hearing aids) ประสาทหูเทียม เป็นต้น

  • รายละเอียดแพทย์

    ชื่อแพทย์ :

    นายแพทย์ อรรถกร มีเนตรขำ

    ความชำนาญเฉพาะทาง :

    หู คอ จมูก

    คุณวุฒิ :

    วุฒิบัตรโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    ตารางการออกตรวจแพทย์

    วัน เวลาเริ่ม เวลาสิ้นสุด สัปดาห์/เดือน
    จันทร์ 08:00 17:00
    อังคาร 08:00 20:00
    พฤหัสบดี 08:00 20:00
    อาทิตย์ 08:00 17:00

    ชื่อแพทย์ :

    นายแพทย์ พัลลภ ศิริบุญคุ้ม

    ความชำนาญเฉพาะทาง :

    หู คอ จมูก

    คุณวุฒิ :

    วุฒิบัตร อนุสาขานาสิกวิทยาและโรคภูมิแพ้ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
    วุฒิบัตรโสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
    แพทยศาสตร์บัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช

    ตารางการออกตรวจแพทย์

    วัน เวลาเริ่ม เวลาสิ้นสุด สัปดาห์/เดือน
    จันทร์ 17:00 20:00
    อาทิตย์ 17:00 20:00

    ชื่อแพทย์ :

    นายแพทย์ ภาวิต พูนภักดี

    ความชำนาญเฉพาะทาง :

    หู คอ จมูก

    คุณวุฒิ :

    วุฒิบัตรโสต ศอ นาสิก ลาริงซวิทยา โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช
    พทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

    ตารางการออกตรวจแพทย์

    วัน เวลาเริ่ม เวลาสิ้นสุด สัปดาห์/เดือน
    อังคาร 08:00 16:00
    พุธ 08:00 20:00
    ศุกร์ 08:00 20:00
    เสาร์ 08:00 12:00

    ชื่อแพทย์ :

    แพทย์หญิง พรรณทิพา สมุทรสาคร

    ความชำนาญเฉพาะทาง :

    หู คอ จมูก

    คุณวุฒิ :

    วุฒิบัตร อนุสาขา โสต ศอ นาสิกวิทยาการนอนหลับ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
    วุฒิบัตร โสต ศอ นาสิก คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
    แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล



    ตารางการออกตรวจแพทย์

    วัน เวลาเริ่ม เวลาสิ้นสุด สัปดาห์/เดือน
    อาทิตย์ 13:00 16:00 สัปดาห์ที่ 1 และ 3 ของเดือน

    ชื่อแพทย์ :

    แพทย์หญิง เมธาวี ไตรรัตนธาดา

    ความชำนาญเฉพาะทาง :

    หู คอ จมูก

    คุณวุฒิ :

    วุฒิบัตร สาขาโสต ศอ นาสิกวิทยา
    ประกาศนียบัตรผู้เชี่ยวชาญสาขา นาสิกวิทยาและโรคภูมิแพ้
    แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

    ตารางการออกตรวจแพทย์

    วัน เวลาเริ่ม เวลาสิ้นสุด สัปดาห์/เดือน
    เสาร์ 12:00 20:00


    เวลาทำการ

    จันทร์ - พฤหัสบดี เวลา 09.00 – 20.00 น.
    ศุกร์ สัปดาห์ 1,3,5 เวลา 09.00 - 20.00 น./สัปดาห์ที่ 2,4 เวลา 09.00 - 17.00 น.
    เสาร์ เวลา 09.00 - 17.00 น.
    อาทิตย์ เวลา 09.00 - 19.00 น.

    วันและเวลาอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม โดยขอสงวนสิทธิ์ในการแจ้งให้ทราบล่วงหน้า

    สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมหรือนัดหมายแพทย์ล่วงหน้า โทร. 0-2117-4999, 0-2431-0054 ต่อ 2240,2241


    แพ็กเกจและโปรโมชั่น

    ankara escort çankaya escort çankaya escort escort ankara çankaya escort escort bayan çankaya istanbul rus escort eryaman escort escort bayan ankara ankara escort kızılay escort istanbul escort ankara escort ankara grup escort ankara olgun escort çankaya escort çayyolu escort cebeci escort dikmen escort eryaman escort etlik escort gaziosmanpaşa escort keçiören escort kızılay escort sincan escort turan güneş escort ankara escort ankara rus escort ankara escort çankaya escort çayyolu escort dikmen escort eryaman escort gaziosmanpaşa escort incek escort ankara olgun escort kızılay escort keçiören escort cebeci escort ankara rus escort escort çankaya ankara escort bayan istanbul rus Escort atasehir Escort beylikduzu Escort Ankara Escort Ankara genç Escort Ankara masöz Ankara rus Escort Ankara ucuz Escort Ankara vip Escort çankaya Escort keçiören Escort kızılay Escort sınırsız Escort sıhhiye Escort eryaman Escort dikmen Escort malatya Escort kuşadası Escort gaziantep Escort izmir Escort antalya Escort Gaziantep Escort Shell Download